ประวัติศาสตร์
อาณาจักรสุโขทัยได้ชื่อเป็นราชธานีแห่งแรกของชนชาติไทย ได้รับการสถาปนาเมื่อ ปี พ.ศ. 1792 และสามารถดำรงอยู่ได้ประมาณ 200 กว่าปี แม้ว่าสุโขทัยจะรวมกับอาราจักรอยุธยา แต่ก็ได้ถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมต่อเนื่องกษัตริย์ผู้ปกครองสุโขทัยมีจำนวน 9 ประกอบด้วย
1. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
2. พ่อขุนบานเมือง
3. พ่อขุนรามคำแหง
4. พระยาเลอไทย
5. พระยางั่วนำถุม
6. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)
7. พระมหาธรรมราชาที่ 2
8. พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)
9. พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)
พระองค์ 3 พระองค์แรกที่ปกครองสุโขทัยจะมีพระนามที่ขึ้นด้วย พ่อขุนรูปแบบการปกครองใน 3 รัชกาลแรกยังยึดถือแบบพ่อปกครองลูก รัชกาลที่ 4-6 นี้พระนามเริ่มเปลี่ยนเป็น "พระ" บ่งบอกถึงรูปแบบกี่ปกครองเริ่มเปลี่ยนไป เพราะ อาณาจักรขยายกว้างขวางขึ้น
ในสมัยพระธรรมราชาที่ 1 เป็นมันที่เริ่มนำธรรมะของพระพุทธศาสนามาใช้ในการปกครอง จึงเรียกว่าการปกครองแบบ "ธรรมราชา"
ในช่วงปลายสมัยสุโขทัยอิทธิพลของอยุธยาเริ่มแพร่ขยายขึ้นมา และในที่สุดสุโขทัยก็เป็นส่วนหนึ่งของอยุธยาก่อนการสถาปนากรุงสุโขทัย ชุมชนบริเวณลุ่มแม่นำยม น่าจะอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอม โดยมีหลักฐานที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบขอม คือ พระปรางค์ ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 2 กล่าว ชุมชนนี้ผู้ปกครอง คือ พ่อขุนศรีบางนำถม เมื่อพ่อขุนศรีบางนำถมสิ้นพระชนม์ ผู้ปกครองขอม คือ ขอมสะบาดโขลญ ลำพง เข้ายึดอำนาจการปกครองแทน ผู้นำคนไทย 2 คน คือพ่อขุนผาเมือง ซึ่งเป็นโอรสและพ่อขุนบางกลางหาญ ได้รับความร่วมมือกันกอบกู้อิสรภาพคืนมา หลังจากนั้นสุโขทัยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
1. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
2. พ่อขุนบานเมือง
3. พ่อขุนรามคำแหง
4. พระยาเลอไทย
5. พระยางั่วนำถุม
6. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)
7. พระมหาธรรมราชาที่ 2
8. พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)
9. พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)
พระองค์ 3 พระองค์แรกที่ปกครองสุโขทัยจะมีพระนามที่ขึ้นด้วย พ่อขุนรูปแบบการปกครองใน 3 รัชกาลแรกยังยึดถือแบบพ่อปกครองลูก รัชกาลที่ 4-6 นี้พระนามเริ่มเปลี่ยนเป็น "พระ" บ่งบอกถึงรูปแบบกี่ปกครองเริ่มเปลี่ยนไป เพราะ อาณาจักรขยายกว้างขวางขึ้น
ในสมัยพระธรรมราชาที่ 1 เป็นมันที่เริ่มนำธรรมะของพระพุทธศาสนามาใช้ในการปกครอง จึงเรียกว่าการปกครองแบบ "ธรรมราชา"
ในช่วงปลายสมัยสุโขทัยอิทธิพลของอยุธยาเริ่มแพร่ขยายขึ้นมา และในที่สุดสุโขทัยก็เป็นส่วนหนึ่งของอยุธยาก่อนการสถาปนากรุงสุโขทัย ชุมชนบริเวณลุ่มแม่นำยม น่าจะอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอม โดยมีหลักฐานที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบขอม คือ พระปรางค์ ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 2 กล่าว ชุมชนนี้ผู้ปกครอง คือ พ่อขุนศรีบางนำถม เมื่อพ่อขุนศรีบางนำถมสิ้นพระชนม์ ผู้ปกครองขอม คือ ขอมสะบาดโขลญ ลำพง เข้ายึดอำนาจการปกครองแทน ผู้นำคนไทย 2 คน คือพ่อขุนผาเมือง ซึ่งเป็นโอรสและพ่อขุนบางกลางหาญ ได้รับความร่วมมือกันกอบกู้อิสรภาพคืนมา หลังจากนั้นสุโขทัยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
สังคมศึกษา
พฤติกรรมผู้บริโภค คือการศึกษาปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์การ และกระบวนการที่พวกเขาเหล่านั้นใช้เลือกสรร รักษา และกำจัด สิ่งที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ บริการ ประสบการณ์ หรือแนวคิด เพื่อสนองความต้องการและผลกระทบที่กระบวนการเหล่านี้มีต่อผู้บริโภคและสังคม [1] พฤติกรรมผู้บริโภคเป็นการผสมผสานจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยาสังคม และเศรษฐศาสตร์ เพื่อพยายามทำความเข้าใจกระบวนการการตัดสินใจของผู้ซื้อ ทั้งปัจเจกบุคคลและกลุ่มบุคคล พฤติกรรมผู้บริโภคศึกษาลักษณะเฉพาะของผู้บริโภคปัจเจกชน อาทิ ลักษณะทางประชากรศาสตร์และตัวแปรเชิงพฤติกรรม เพื่อพยายามทำความเข้าใจความต้องการของประชาชน พฤติกรรมผู้บริโภคโดยทั่วไปก็ยังพยายามประเมินสิ่งที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภคโดยกลุ่มบุคคลเช่นครอบครัว มิตรสหาย กลุ่มอ้างอิง และสังคมแวดล้อมด้วย
การศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคมีรากฐานมาจากพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค ซึ่งแสดงบทบาทที่แตกต่างกันสามบทบาทได้แก่ ผู้ใช้ ผู้จ่าย และผู้ซื้อ ผลการวิจัยได้แสดงว่าพฤติกรรมผู้บริโภคนั้นยากที่จะพยากรณ์ แม้กระทั่งโดยผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นเอง [2] การตลาดความสัมพันธ์คือสิ่งหนึ่งที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลสำหรับการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค เพราะมันมีจุดสนใจที่โดดเด่นในการรื้อฟื้นความหมายที่แท้จริงของการตลาด ด้วยการยอมรับความสำคัญของลูกค้าหรือผู้ซื้อ การรักษาผู้บริโภค การจัดการความสัมพันธ์ต่อผู้บริโภค การปรับตามปัจเจกบุคคล การปรับตามผู้บริโภค และการตลาดหนึ่งต่อหนึ่ง ก็เป็นสิ่งที่ได้ให้ความสำคัญมากขึ้น การทำหน้าที่เชิงสังคมสามารถจัดประเภทเป็นทางเลือกของสังคมและการทำหน้าที่สวัสดิการ
พฤติกรรมผู้บริโภคมีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจ ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคจะทำให้สามารถสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดที่สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภคและความสามารถในการค้นหาทางแก้ไข พฤติกรรมในการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคในสังคมได้ถูกต้องและสอดคล้องกับความสามารถในการตอบสนองของธุรกิจมากยิ่งขึ้น ที่สำคัญจะช่วยในการพัฒนาตลาดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้บริโภคที่ฉลาด นอกจากจะต้องมีหลักเกณฑ์ในการเลือกซื้อสินค้าบริการแล้ว จะต้องรอบรู้เท่าทันกลวิธี เทคนิค และกลฉ้อฉลต่าง ๆ ที่ใช้ในการขายสินค้าและบริการ รวมถึงสามารถปกป้องสิทธิที่ตนเองพึงได้รับด้วย การเรียนรู้การเป็น ผู้บริโภคที่ฉลาด จะทำให้ทราบและสามารถลำดับความสำคัญของทางเลือกต่าง ๆ ในการใช้เงิน ตลอดจนรู้จักหลักเกณฑ์ในการเลือกซื้อและใช้สินค้าและบริการ
No comments:
Post a Comment